รายละเอียด:
ฮีทปั้มสำหรับอบแห้ง
ฮีทปั้มสำหรับอบแห้งทำอุณหภูมิได้ถึง 75องศาซี ประสิทธิภาพสูง กินไฟน้อย
- ระบบอัตโนมัติในอุณหภูมิและลดความชื้นตามที่ต้องการ
-เหมาะสำหรับอบแห้งพืช สมุนไพร อบไม้ วัสดุก่อสร้าง อบพืชผลทางเกษตร ยางพารา อาหารทะเล ใบยาสูบ อุปกรณ์ผลิตพลาสติก ประทัด ยางพารา เป็นต้น
-ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม .ใช้น้ำยาแอร์ตัวใหม่ ไม่กระทบโลกร้อน a417R
- ประหยัดพลังงานกว่าฮีทเตอร์ 4 เท่า
- ไม่มีเสียงดัง
- สามารถลดค่าใช้จ่ายด้วยระบบอื่นกว่า 30%-60%
- การดูแลรักษาน้อย
- สินค้ามีให้เลือกหลายขนาดขึ้นอยู่กับขนาดของห้องและความชื้นของวัสดุที่ต้องการอบแห้ง พร้อมอุปกรณ์ควบคุมความชื้น
- ไม่มีอันตรายกับวัตถุไวไฟ
- ได้ความเย็นจากการเป่าทิ้ง อุณหภูมิ 25-27 องศาซี
ระวังผู้ลอกเลียนแบบจะทำให้ท่านเสียเงินเปล่า
งบประมาณค่่าเครื่องอบแห้งพร้อมค่าติดตั้ง
ปริมาณการอบ 1000 kg ประมาณ 350,000-400,000 บาท
ปริมาณการอบ 2000 kg ประมาณ 700,000-80,000 บาท
วีดีโอการทำงานของฮีทปั้ม
รายละเอียดฮีทปั้มแต่ละรุ่น
Item model
|
KYS-030RT-
HX(Z)
|
KYS-050RT-
HX(Z)
|
KYS-100RT-
HX(Z)
|
KYS-200RT-
HX(Z)
|
Rated heating capacity
|
8.0kw
|
13.5kw
|
26.0kw
|
52.0kw
|
Ambient Temp.
|
-10~45℃
|
-10~45℃
|
-10~45℃
|
-10~45℃
|
Rated room Temp.
|
70℃
|
70℃
|
70℃
|
70℃
|
Max. room Temp.
|
80℃
|
80℃
|
80℃
|
80℃
|
Noise
|
≤55dB(A)
|
≤56dB(A)
|
≤58dB(A)
|
≤60dB(A)
|
Power supply
|
220v~/50Hz
|
380v 3N~50Hz
|
380v 3N~50Hz
|
380v 3N~50Hz
|
COM .Input power
|
2.20Kw
|
3.9Kw
|
7.8
|
15.6
|
Rated input power
|
2.15KW
|
4.38KW
|
8.76KW
|
17.5KW
|
Rated heating current
|
10.29A
|
8.37A
|
16.6A
|
32.0A
|
Heat Pump Size
|
800×310×700mm
|
930×390×1270mm
|
1450×810×1050mm
|
1450×810×1150mm
|
Heat pump weight
|
95.00Kg
|
140.00Kg
|
220.00Kg
|
310.00Kg
|
Air vent
|
Side air vent
|
Side air vent
|
Side air vent
|
Side air vent
|
Room size
|
User’s real room size for drying target products
|
User’s real room size for drying target products
|
User’s real room size for drying target products
|
User’s real room size for drying target products
|

การลดความชื้นโดยปั๊มความร้อน
HEAT PUMP DEHUMIDIFCATION DRYING
(ข้อมูลจากกรมพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน)
การลดความชื้นโดยปั๊มความร้อน
|
|
หลักการพื้นฐานของเทคโนโลยี
การลดความชื้นโดยปั๋มความร้อนเป็นวิธีการทำให้แห้งและการลดความชื้นที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผลิตภัณฑ์ (อาหาาร) ที่ไวต่อความร้อน เนื่องจากอุณหภูมิของการทำให้แห้งอยู่ในช่วง 30-45 องศาเซลเซียส เท่านั้น การลดความชื้นแบบนี้จะประกอบด้วยห้องอบที่ป้องกันความชื้น และน้ำสำหรับใส่ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทำให้แห้ง ระบบควบคุมการหมุนเวียนของอากาศและปั๊มความร้อนการทำงานจะให้อากาศไหลผ่านผลิตภัณฑ์และดูดซับ
ความชื้นไว้ หลังจากนั้นจะผ่านตัวทำระเหยของระบบทำความเย็นซึ่งอุณหภูมิของอากาศจะถูกทำให้ต่ำลง และดึงความชื้นบางส่วนออกหลังจากนั้นอากาศเย็นจะผ่านคอนเดนเซอร์ ซึ่งให้อากาศร้อนขึ้นจนถึงอุณหภูมิที่ตั้งไว้ อากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำจะไหลย้อนกลับไปยังห้องอบเพื่อรับความชื้นจากผลิตภัณฑ์
ประเภทของการใช้งาน
การทำให้แห้งโดยการลดความชื้นด้วยปั๊มความร้อน เหมาะสมกับกระบวนการที่ควบคุมความชื้นอยู่ที่ 45% RN หรือมากกว่า ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีความเหมาะสมกับการใช้วิธีการลดความชื้นโดยปั๊มความร้อน ได้แก่
>> วัตถุดิบทางการเกษตรและอาหาร เช่นถั่ว ธัญพืช หญ้าแห้ง
>> สิ่งทอ
>> เซรามิค
>> อาหารสำเร็จรูป
>> หนัง
>> ยิปซั่ม
>> อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร เอกสารต่างๆ
ประโยชน์ของเทคโนโลยี
>> ค่าใช้จ่ายในการทำงานต่ำ : สามารถลดการใช้พลังงานได้ 60-70% เมื่อเทียบกับระบบที่ใช้เชื้อเพลิงหรือไอน้ำ
>> คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่แน่นอนและดีขึ้น : สามารถรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไว้ได้เนื่องจากการอบแห้งที่อุณหภูมิต่ำ โดยใช้ความชื้นต่ำที่ปล่อยออกมาจากปั๊มความร้อน
>> เวลาการทำงานที่ลดลง
>> ผลิตภัณฑ์และอากาศทิ้งที่สะอาด
>> สามารถควบคุมกระบวนการได้แม่นยำ
>> ลดค่าใช้จ่ายของแรงงาน
ข้อพิจารณาในการนำมาใช้
>> ผลิตภัณฑ์ที่มีผลไวต่อความร้อน
>> ประหยัดพลังงาน
>> ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความเที่ยงตรงสูง
>> การใช้งานจะไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ที่มา กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
|
ข้อมูลจากกระทรวงพลังงาน
ได้การรับรองเป็นสินค้าประหยัดพลังงานมีความคุ้มทุนสูง
ข้อมูลอ้างอิง
พิพม์ Google คำว่า ปั้มความร้อน dede
ผลงาน
อบแห้งผลไม้กวน บริษัทมาลีสามพราน
อบแห้งใบยาสูบ ฝาง เชียงใหม่ 2500kg
อบแห้งยางพารา 2000 Kg ทุ่งสง นครศรีธรรมราช
อบแห้งยางพารา 1500 kg แก้งค้อ ชัยภูมิ
อบแห้งยางพารา 4000 kg เมือง สงขลา
อบแห้งอาหารสัตว์ ประเทศมาเลเซีย
อบแห้งยางพารา สหกรณ์การยาง วังพง แก่งหางแมว จันทรบุรี
ข้อดีของการใช้ฮีทปั้มหรือปั้มความร้อน
Air to Air Heat Pump Dryer, Heat Recovery dryer.
1.Heat pump dryer running cost just as 40% of oil dryer, 50% of coal burning boiler, 30% of electric boiler.Heat pump dehumidification drying method of the closed cycle, saving costs; no exhaust waste heat emissions, no noise pollution, environmental protection;
2.Using our patented technology: circulating heating & dehumidification, broaden the application of a dehumidifier in industrial drying, drying performance better than ordinary heat pump dehumidification drying energy saving over 30%;
3.median and low temperature drying method(15-50°C/60°C/80°C),similar nature drying.
4.Drying process material no deformation, no cracking, no-discoloration,no deterioration, and no oxidation, thorough drying, after drying and rehydration, less loss of nutrients, the long storage period, more than any conventional drying equipment to more effectively protect the color of the dried material, smell, taste, individual
form and active ingredients;
5.adopt closed type circulating heating or cooling drying,suitable for inflammable and explosive materials, poisonous material,Pungent odor of materials,easily oxidized material etc;
6.installation and operation easily,just need connecting with drying chamber by wind pipe;
7.adopt international brand name compressor, expansion valve etc;
8.many protection: phase protection, lack phase protection, overloading protection, high pressure protection and low pressure protection etc.
9.Nice design, small dimension.
10.intelligent controller, make sure heat pump dryer stable working.
you can put on your web for dryer inspection
งานติดตั้งห้องอบยางพาราขนาด 1000 kg
งานติดตั้งอบแห้งอาหารสัตว์ ประเทศมาเลเซีย
ตัวอย่างผลการอบแห้ง สกย แก่งหางแมว จันทรบุรี มีดังนี้
Temp 70C, ความชื้น 80% ลด 20%
1.น้ำหนักก่อนอบแห้ง 3,050 kg
2.น้ำหนักสูญเสีย 5.5%
3.น้ำหนักสูญเสีย 167.75 kg
4.น้ำหนักหลังอบแห้ง 2882.25 kg
5. ราคาซื้อ 71.59 บาท/กก. และราคาขายเฉลี่ย 78 บาท/กก.
6.ส่วนต่างกำไร 16,982.54 บาท หรือ กำไร 5.2 บาท
7.ค่าใช้จ่าย ค่าแรง 2000 บาท
8. จ่ายค่าไฟฟ้า 24 ชม ใช้ไฟฟ้า =32 หน่วย หรือประมาณ 160 บาท/24 Hr
สรุป
ยาง 3,050 kg กำไร 14,822 บาท หรือ กำไร 4.85 บาท/kg